วันพุธที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2559

กฎหมายในชีวิตประจําวัน

     กฎหมายเป็นเกณฑ์ กติกา หรือ มาตรฐานที่ใช้เป็นแนวทางในการอยูาร่วมกันในสังคม เพื่อให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติตาม โดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากบุคคลอื่น กฎหมายมีสภาพบังคับ นันคือ สมาชิกในสังคมทุกคนจะต้องรู้กฎหมาย ผู้ใดจะอ้างว่าไม่รู้กฎหมายไม่ได้  และจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด แบ่งเป็น 2 ส่วน คือกฎหมายแพ่งลักษณะครอบครัวและกฎหมายเกี่ยวกับชุมชนและประเทศชาติ อ่านเพิ่มเติม


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย


      รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเป็นกฎหมายลำดับศักดิ์สูงสุดแห่งราชอาณาจักรไทย 
กฎหมายอื่นใดจะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซึ่งตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแล้วทั้งสิ้น 19 ฉบับ อันแสดงให้เห็นถึงความขาดเสถียรภาพทางการเมืองของประเทศ รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557อ่านเพิ่มเติม


ระบอบการเมืองการปกครอง

1.ลักษณะการเมืองการปกครอง
                ประเทศต่างๆในโลกย่อมมีระบอบการเมืองการปกครองที่ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศเชื่อว่าเหมาะสมและสอดคล้องกับความคิดความเชื่อ ประวัติศาสตร์ และสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศนั้นๆ หากปรากฏว่าระบอบการเมืองการปกครองที่ใช้อยู่ในช่วงระยะเวลาหนึ่งไม่เหมาะสม อ่านเพิ่มเติม



สิทธิมนุษยชน

  
          สิทธิมนุษยชน (Human Right)  หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ คุ้มครองตาม อ่านเพิ่มเติม


พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคม

ความหมาย
    
         พลเมืองดี หมายถึง ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิและเสรีภาพของ บุคคลอื่น อ่านเพิ่มเติม

วัฒนธรรมไทย

        วัฒนธรรม หมายถึง วีถีการดำรงชีวิตที่ดีงาม ได้รับการสืบทอดจากอดีตสู่ปัจจุบันเป็นผลผลิตของมนุษย์ที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ทั้งด้านวัตถุ แนวคิดจิตใจ วัฒนธรรมในท้องถิ่นจะเป็นเอกลักษณ์ของสังคมท้องถิ่นนั้นๆ วัฒนธรรมคงอยู่ได้เพราะการเรียนรู้ของมนุษย์ตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน และสร้างสรรค์พัฒนาขึ้นใหม่อย่างต่อเนื่อง อ่านเพิ่มเติม



สังคมมนุษย์

ประเภทของสัตว์ทางสังคมวิทยา แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

  • สัตว์สังคม เป็นสัตว์ที่อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม เพื่อช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยกันและกัน เช่น ผึ้ง แตน ต่อ ช้าง เป็นต้น
  • สัตว์โลก เป็นสัตว์ที่ดำรงชีวิตอยู่ตามลำพังได้โดยไม่ต้องอยู่รวมกันเป็นกุล่มก็ได้ เช่น จระเข้ แมว สุนัข แรด เป็นต้น

มนุษย์จัดเป็นสัตว์สังคมจำพวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โดยมีลักษณะพิเศษเหนือกว่าสัตว์อื่น ๆ เพราะมีลักษณะ ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม